สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลนีสุรนารี (มทส.)
Tags: hse morning talk resources initiative, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลนีสุรนารี, มทส
เขียนโดย คุณณัฐพงษ์ สุขเกื้อ
2. ห้ามเคลื่อนย้ายตำแหน่งหรือนำเอาแผ่นเครื่องหมายความปลอดภัยออก
3. เครื่องหมายความปลอดภัยต้องสมบูรณ์ ชัดเจน และสะอาด ดังนั้นพนักงานต้องช่วยกัน
ตำแหน่ง EHS Manager, EMR & OHSMR
บริษัท Eagle Ottawa Thailand
บริษัท Eagle Ottawa Thailand
กฎที่ควรปฏิบัติกับเครื่องหมายด้านความปลอดภัย
1. ต้องสังเกตและทำความเข้าใจกับเครื่องหมายความปลอดภัยทุกเครื่องหมายอย่างถ่องแท้2. ห้ามเคลื่อนย้ายตำแหน่งหรือนำเอาแผ่นเครื่องหมายความปลอดภัยออก
3. เครื่องหมายความปลอดภัยต้องสมบูรณ์ ชัดเจน และสะอาด ดังนั้นพนักงานต้องช่วยกัน
รักษาความสะอาดอยู่เสมอ
เขียนโดย คุณณัฐพงษ์ สุขเกื้อ
Y = Yoshi โยชิ หมาย การบ่งชี้อันตรายล่วงหน้า
T = Training หมายถึง การอบรมให้เกิดความชำนาญ
ดังนั้น KYT คือกิจกรรมเตือนสติก่อนปฏิบัติงานเพื่อขจัดความผิดพลาดที่เกิดจากคน ( HUMAN ERROR )
ตำแหน่ง EHS Manager, EMR & OHSMR
บริษัท Eagle Ottawa Thailand...,
บริษัท Eagle Ottawa Thailand...,
KYT คืออะไร
K = Kiken คิเค็น หมายถึง อันตรายY = Yoshi โยชิ หมาย การบ่งชี้อันตรายล่วงหน้า
T = Training หมายถึง การอบรมให้เกิดความชำนาญ
ดังนั้น KYT คือกิจกรรมเตือนสติก่อนปฏิบัติงานเพื่อขจัดความผิดพลาดที่เกิดจากคน ( HUMAN ERROR )
เขียนโดย คุณณัฐพงษ์ สุขเกื้อ
ตำแหน่ง EHS Manager, EMR & OHSMR
บริษัท Eagle Ottawa Thailand
บริษัท Eagle Ottawa Thailand
1. กฎการมองไปข้างหน้า มองไปยังเส้นทางด้านหน้าเสมอ ขณะที่เข็น ระวังอย่าซ้อนของสูงเกินกว่าระดับสายตา ( 1.5 ม.)
2. อย่าผลักหรือถีบ อาจทำให้ผู้ใช้เส้นทางร่วม เกิดอันตรายได้
3. รถเข็นไม่ใช่บันได ห้ามยืนทำงานบนรถเข็นโดยเด็ดขาด อาจเกิดการพลัดตก และลื่นล้มได้ง่ายมาก
เขียนโดย คุณณัฐพงษ์ สุขเกื้อ
2. เชื้อเพลิง ส่วนที่เป็นไอร้อน (เชื้อเพลิงที่ไม่มีไอร้อนไฟไม่ติด)
3. ความร้อน (เพียงพอทำให้เกิดการลุกไหม้)
ตำแหน่ง EHS Manager, EMR & OHSMR
บริษัท Eagle Ottawa Thailand
บริษัท Eagle Ottawa Thailand
องค์ประกอบของไฟ 3 อย่าง (Fire’s element)
1. ออกซิเจน มีไม่ต่ำกว่า 16% (ในบรรยากาศมี 21%)2. เชื้อเพลิง ส่วนที่เป็นไอร้อน (เชื้อเพลิงที่ไม่มีไอร้อนไฟไม่ติด)
3. ความร้อน (เพียงพอทำให้เกิดการลุกไหม้)
องค์ประกอบทั้ง 3 ต้องเกิดขึ้นพร้อมกัน ไฟถึงจะลุกไหม้ การป้องกันไฟ คือ การกำจัดองค์ประกอบของไฟอย่างใดอย่างอย่างหนึ่งออกไป จะทำให้ไฟดับทันที
เขียนโดย คุณวรกานต์ ศิริเกตุ
ตำแหน่ง Health Safety Environment Officer
บริษัท KNORR-BREMSE COMMERCIAL VEHICLE SYSTEMS (THAILAND) LTD.
บริษัท KNORR-BREMSE COMMERCIAL VEHICLE SYSTEMS (THAILAND) LTD.
ประเภทของวัตถุอันตราย (Hazardous materials)
o ประเภทที่ 1 วัตถุระเบิด (Explosives) o ประเภทที่ 2 ก๊าซ (Gases)
o ประเภทที่ 3 ของเหลวไวไฟ (Flammable liquid)
เขียนโดย คุณวรกานต์ ศิริเกตุ
ตำแหน่ง Health Safety Environment Officer
บริษัท KNORR-BREMSE COMMERCIAL VEHICLE SYSTEMS (THAILAND) LTD.
บริษัท KNORR-BREMSE COMMERCIAL VEHICLE SYSTEMS (THAILAND) LTD.
สำหรับงานขนส่งวัตถุอันตราย ป้ายเตือนอันตรายมีความจำเป็นที่จะต้องแสดงไว้ เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ประชาชน ผู้คนถ่าย เจ้าหน้าที่ตำรวจ ได้ทราบถึงประเภทของอันตรายที่บรรจุภัณฑ์ ทั้งหีบหอ หรือรถบรรทุก
พนักงานที่ต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการใช้สารเคมีอันตรายต้องอ่านและเข้าใจป้ายเตือนได้ทันที เสมือนกับการอ่านไฟจราจร โดยเฉพาะผู้ขับขี่ต้องมีใบขับขี่ประเภทที่ 4 ด้วย
เขียนโดย คุณวรกานต์ ศิริเกตุ
ตำแหน่ง Health Safety Environment Officer
บริษัท KNORR-BREMSE COMMERCIAL VEHICLE SYSTEMS (THAILAND) LTD.
บริษัท KNORR-BREMSE COMMERCIAL VEHICLE SYSTEMS (THAILAND) LTD.
องค์การสหประชาชาติ จำแนกประเภทสารเคมีอันตรายออกเป็น 9 ประเภท ตามสถานะและอันตรายของสารเคมี
o ประเภทที่ 1 วัตถุระเบิด แบ่งเป็น 5 ชนิด 1. สารและสิ่งที่อาจก่อให้เกิดอันตราย โดยการระเบิดรุนแรงฉับพลัน
2. สารและสิ่งที่อาจก่ออันตรายโดยการกระจายของสะเก็ดระเบิด แต่มิใช่โดยการระเบิดรุนแรงฉับพลัน
2. สารและสิ่งที่อาจก่ออันตรายโดยการกระจายของสะเก็ดระเบิด แต่มิใช่โดยการระเบิดรุนแรงฉับพลัน
เขียนโดย คุณวรกานต์ ศิริเกตุ
ตำแหน่ง Health Safety Environment Officer
บริษัท KNORR-BREMSE COMMERCIAL VEHICLE SYSTEMS (THAILAND) LTD.
บริษัท KNORR-BREMSE COMMERCIAL VEHICLE SYSTEMS (THAILAND) LTD.
“การฉีดน้ำเข้าไปในที่เกิดเหตุท่ามกลางกลุ่มควันอาจก่อให้เกิดความเสียหาย และยังเป็นการปล่อยโอกาสให้เพลิงที่กำลังลุกไหม้ติดต่อลุกลามและขยายตัวมากยิ่งขึ้น”
ตามหลักการระงับอัคคีภัย พนักงานดับเพลิงต้องเข้าถึงจุดที่เกิดเหตุเพลิงไหม้ให้ได้แต่ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับสถานการณ์เช่นถ้าเพลิงไหม้มากพนักงานดับเพลิงอาจมองไม่เห็นได้จากภายนอก ก็สามารถลงมือปฏิบัติการได้ แต่ถ้าเพียง เห็นแค่กลุ่มควันซึ่งไม่แน่ใจว่าเป็นเพลิงไหม้อะไรตรงจุดไหน
เขียนโดย คุณวรกานต์ ศิริเกตุ
ตำแหน่ง Health Safety Environment Officer
บริษัท KNORR-BREMSE COMMERCIAL VEHICLE SYSTEMS (THAILAND) LTD.
บริษัท KNORR-BREMSE COMMERCIAL VEHICLE SYSTEMS (THAILAND) LTD.
เอกสารความปลอดภัยที่ผู้ผลิตกำกับมากับสารเคมีแต่ละชนิด เรียกว่า SDS ประกอบด้วย ชื่อสารเคมี ชื่อทางการค้า คุณสมบัติทางเคมี คุณสมบัติทางฟิสิกส์ การใช้งานอย่างปลอดภัย การปฏิบัติเมื่อรั่วไหล การปฐมพยาบาล และการกำจัด
เขียนโดย คุณสุฑารัตน์ ภูทัศฝน
ตำแหน่ง ผู้จัดการแผนกความปลอดภัยและประกันคุณภาพ
บริษัท บางกอกไฟลท์เซอร์วิสเซส จำกัด
บริษัท บางกอกไฟลท์เซอร์วิสเซส จำกัด
o ระวังอันตรายจากกระแสไอพ่นเครื่องบิน Be
aware jet blast
o FOD เป็นหน้าที่ของเราทุกคน
o ไม่มีอุปกรณ์อยู่ในหลุมจอดขณะอากาศยานกำลังเข้า/ออกจากหลุมจอดอากาศยาน
เขียนโดย คุณสุฑารัตน์ ภูทัศฝน
ตำแหน่ง ผู้จัดการแผนกความปลอดภัยและประกันคุณภาพ
บริษัท บางกอกไฟลท์เซอร์วิสเซส จำกัด
บริษัท บางกอกไฟลท์เซอร์วิสเซส จำกัด
o สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลทุกครั้ง
o ตัก/ยกสินค้าพิเศษและสินค้าอื่นๆด้วยความระวัง
o จำกัดความเร็วในคลังสินค้าเท่ากับคนเดิน หรือ
5-8 กม./ชม.
เขียนโดย คุณสุฑารัตน์ ภูทัศฝน
ตำแหน่ง ผู้จัดการแผนกความปลอดภัยและประกันคุณภาพ
บริษัท บางกอกไฟลท์เซอร์วิสเซส จำกัด
บริษัท บางกอกไฟลท์เซอร์วิสเซส จำกัด
o จัดเก็บ
DG
ให้ถูกต้องตามพื้นที่ที่กำหนด
o สินค้าที่มีฉลาก
Cargo
Aircraft only ห้ามโหลดขึ้นเครื่องผู้โดยสารเด็ดขาด
o โหลดให้ถูกต้องและปฏิบัติตามฉลากอย่างเคร่งครัด
เขียนโดย คุณสุฑารัตน์ ภูทัศฝน
ตำแหน่ง ผู้จัดการแผนกความปลอดภัยและประกันคุณภาพ
บริษัท บางกอกไฟลท์เซอร์วิสเซส จำกัด
บริษัท บางกอกไฟลท์เซอร์วิสเซส จำกัด
Safety and Security Questions
Check in counter สอบถามผู้โดยสารเกี่ยวกับความปลอดภัย
และ Security
ทุกครั้งโดยใช้คำถาม
Safety and Security Question ตามที่สายการบินหรือการท่าอากาศยานกำหนด
เขียนโดย คุณสุฑารัตน์ ภูทัศฝน
ตำแหน่ง ผู้จัดการแผนกความปลอดภัยและประกันคุณภาพ
บริษัท บางกอกไฟลท์เซอร์วิสเซส จำกัด
บริษัท บางกอกไฟลท์เซอร์วิสเซส จำกัด
o ก่อนขับรถอุปกรณ์ฯต้องตรวจสอบสภาพรถโดยทำ daily check ก่อนทุกครั้ง
o หยุด
เมื่อถึงทางร่วมทางแยกและให้ทางอากาศยานเสมอ
o SPEED
LIMIT ประชิดอาคารและอุโมงค์
30 กม./ชม. ไม่ประชิดอาคาร
40 กม./ชม.
หลุมจอดอากาศยาน
5 กม./ชม. หรือเท่ากับคนเดิน
เขียนโดย คุณมานะ พิจุลย์
ตำแหน่ง รองผู้จัดการฝ่ายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม อุทยานมิตรผล กาฬสินธุ์
บริษัท น้ำตาลมิตรกาฬสินธุ์ จำกัด
บริษัท น้ำตาลมิตรกาฬสินธุ์ จำกัด
เขียนโดย คุณมานะ พิจุลย์
ตำแหน่ง รองผู้จัดการฝ่ายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม อุทยานมิตรผล กาฬสินธุ์
บริษัท น้ำตาลมิตรกาฬสินธุ์ จำกัด
บริษัท น้ำตาลมิตรกาฬสินธุ์ จำกัด
ความสำคัญ: เพื่อการตรวจสอบสภาพความพร้อมและประเมินความเสี่ยงในการทำงาน
เช่น ความพร้อมของเครื่องจักร คน วัตถุดับ สารเคมี ขั้นตอนการทำงาน
และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และมีมาตรการความปลอดภัยในการเสี่ยง เช่น
งานประกายไฟและความร้อน งานที่อับอากาศ งานบนที่สูง การทำงานกับเครนหรือปั้นจั่น
เขียนโดย คุณมานะ พิจุลย์
ตำแหน่ง รองผู้จัดการฝ่ายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม อุทยานมิตรผล กาฬสินธุ์
บริษัท น้ำตาลมิตรกาฬสินธุ์ จำกัด
บริษัท น้ำตาลมิตรกาฬสินธุ์ จำกัด
ความสำคัญ: เพื่อป้องกันอันตรายหรืออุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้นจากพลังงานไฟฟ้า ลม ความร้อน และไฮโดรลิก เมื่อมีผู้ปฏิบัติงานทำการซ่อมแซมหรือทำความสะอาดเครื่องจักร ดังนั้น การหยุดเครื่องจักร การติดป้ายเตือนห้ามเดินเครื่องจักร การล็อคกุญแจ จะช่วยเตือนเพื่อนร่วมงานและป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงานได้
เขียนโดย คุณมานะ พิจุลย์
ตำแหน่ง รองผู้จัดการฝ่ายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม อุทยานมิตรผล กาฬสินธุ์
บริษัท น้ำตาลมิตรกาฬสินธุ์ จำกัด
บริษัท น้ำตาลมิตรกาฬสินธุ์ จำกัด
ความสำคัญ: เพื่อป้องกันเครื่องจักรความเกิดความเสียหายชำรุดจากการดัดแปลงที่ผิดหลักการ ทำให้ระบบเครื่องจักรและระบบความปลอดภัยเครื่องจักรทำงานผิดปกติ เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุต่อผู้ปฏิบัติงานที่ทำงานกับเครื่องจักร
เขียนโดย คุณมานะ พิจุลย์
ตำแหน่ง รองผู้จัดการฝ่ายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม อุทยานมิตรผล กาฬสินธุ์
บริษัท น้ำตาลมิตรกาฬสินธุ์ จำกัด
บริษัท น้ำตาลมิตรกาฬสินธุ์ จำกัด
ความสำคัญ: การใช้โทรศัพท์ในพื้นที่เสี่ยงหรือขณะทำงาน อาจทำให้สมาธิของผู้ปฏิบัติงานน้อยลงหรือไม่ได้มองเห็นอันตรายหรือขาดความระมัดระวังในการทำงาน ดังนั้น จึงห้ามพกโทรศัพท์เข้าไปในพื้นที่เสี่ยงขณะทำงานกับเครื่องจักร หรือพื้นที่ทำงานที่มียานพาหนะสัญจร เป็นต้น