คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Tags: hse morning talk resources initiative, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น
HSE Morning Talk by Safety
KKU
เขียนโดย คุณลักษิกา ทองสอาด
ตำแหน่ง HSE Officer
หน่วยงาน Greatwall Drilling Company
งานแท่นขุดเจาะน้ำมันบนบก หรือ Onshore มีความเสี่ยงที่สูงในทุกขั้นตอนการทำงาน ไม่ว่าจะเป็นการทำงานภายใต้แรงดันสูง แก๊ส น้ำมันดิบ สารเคมี การทำงานบนที่สูง เป็นต้น โดยงานส่วนใหญ่เมื่อถูกประเมินความเสี่ยงของงานนั้นแล้ว จะถูกจัดว่าเป็นงานที่มีความเสี่ยงสูงแทบจะทุกขั้นตอนการทำงาน มีการจัดการมาตรการป้องกันหลาย ๆ อย่างเข้ามาเพื่อลดโอกาสในการเกิดอันตรายนั้นขึ้น หรือช่วยลดระดับความรุนแรงของการได้รับผลกระทบต่างๆ
เขียนโดย คุณอาทิตย์ มีพานทอง
ตำแหน่ง SHE Coordinator
บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพขอนแก่น จำกัด
ตำแหน่ง SHE Coordinator
บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพขอนแก่น จำกัด
สถานพยาบาล เป็นกิจการหรือสถานประกอบกิจการที่ถูกบังคับใช้ตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549 ข้อ1(8) ซึ่งการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยฯ ในสถานพยาบาลนั้นต้องบริหารจัดการให้เกิดความปลอดภัยต่อตัวบุคลากรทางการแพทย์ ผู้ใช้บริการ รวมถึงบุคคลผู้มาติดต่อประสานงานในพื้นที่โรงพยาบาล โดยต้องคำนึงถึงความปลอดภัยตั้งแต่ผู้ใช้บริการเข้าถึงพื้นที่โรงพยาบาล ผ่านกระบวนการทำงานของบุคลากร ตั้งแต่ เจ้าหน้าที่ รปภ. เจ้าหน้าที่ต้อนรับ เจ้าหน้าที่ลงทะเบียน แพทย์ เภสัชกร ตลอดจนถึงการรับบริการต่างๆ โดยทุกคนในกระบวนการของโรงพยาบาลต้องมีความปลอดภัย
เขียนโดย คุณภานุพงศ์ ศรีทองเติม
ตำแหน่ง Safety & Emergency Specialist
บริษัท Reckitt benckiser healthcare manufacturing (Thailand)
ตำแหน่ง Safety & Emergency Specialist
บริษัท Reckitt benckiser healthcare manufacturing (Thailand)
งานระเบิด (Blasting) ในงานวิศวกรรมถือเป็นเทคนิคหนึ่งในงานโครงการจำพวก Major Civilengineer เช่น งานเขื่อน (Dam) construction) ที่ต้องมีการขุด (Excavation) งานเจาะ (Drilling) เป็นงานหลักในช่วงของ Earth work phase โดยที่มีระยะเวลาของแผนงานจำกัด มักจะต้องพึ่งการระเบิด (Blasting) เพื่อย่นระยะเวลาในการปฏิบัติงานให้ทันกับช่วงฤดูกาล เช่น หากงานเขื่อนที่เป็น Earth work ทำในช่วงฤดูน้ำหลากหรือฤดูฝน จะมีผลเสียทั้งการจัดการในการขนส่งวัตถุดิบ งานเครื่องจักรที่ถนนถูกตัดขาดจากน้ำป่าไหลหลาก หรืองานดินชั่วคราวเกิดความเสียหาย โดยเฉพาะ Pre-coffer dam (ภาพที่ 1) ที่ทำหน้าที่กั้นน้ำเพื่อเบี่ยงมวลน้ำหลักเข้าอุโมงค์ หากงานไม่เสร็จทันเวลาที่กำหนด จะเกิดมวลน้ำขนาดใหญ่ที่ทำลายส่วนของ Main dam ได้
เขียนโดย คุณอัจฉรา คำอ้น
ตำแหน่ง Safety Manager
บริษัท พรีไซซ อีเลคโทร-แมคคานิเคิล เวอร์คส์ จำกัด
ตำแหน่ง Safety Manager
บริษัท พรีไซซ อีเลคโทร-แมคคานิเคิล เวอร์คส์ จำกัด
Mindset คือ กรอบความคิด ทัศคติ หรือนิสัยทางความคิด ซึ่งมีส่วนสำคัญอย่างมากต่อการตัดสินใจให้กระทำสิ่งต่าง ๆ ในชีวิต เช่น เราคิดว่า…เราชื่อว่า...“ การออกกำลังกายเป็นประจำ และทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ในปริมาณเหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม และพักผ่อนให้เพียงพอ จะทำให้มีสุขภาพที่ดี จึงตัดสินใจลงมือปฏิบัติตามที่สิ่งที่คิด”
เขียนโดย คุณอัจฉรา คำอ้น
ตำแหน่ง Safety Manager
บริษัท พรีไซซ อีเลคโทร-แมคคานิเคิล เวอร์คส์ จำกัด
ตำแหน่ง Safety Manager
บริษัท พรีไซซ อีเลคโทร-แมคคานิเคิล เวอร์คส์ จำกัด
จากที่ผู้เขียนได้บรรยายในหัวข้อ Safety Starts with Me (EP.1 wake me up) ครั้งที่แล้ว ทำให้ตัวเราที่เป็น จป.วิชาชีพที่ต้องตื่นเป็นคนแรกและปลุกทุกคนในทีมให้ตื่น เพื่อร่วมกันขับเคลื่อนงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในองค์กรให้มีชีวิต (Alive) ซึ่งในครั้งนี้จะกล่าวต่อเนื่องถึงเทคนิคหรือแนวปฏิบัติที่ทำแล้วเกิดการพัฒนาสู่วัฒนธรรมความปลอดภัยที่เข้มแข็งและยั่งยืน (Safety Culture) โดยมีกลยุทธ์ดังนี้
เขียนโดย คุณอัจฉรา คำอ้น
ตำแหน่ง Safety Manager
บริษัท พรีไซซ อีเลคโทร-แมคคานิเคิล เวอร์คส์ จำกัด
ตำแหน่ง Safety Manager
บริษัท พรีไซซ อีเลคโทร-แมคคานิเคิล เวอร์คส์ จำกัด
วัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กรจะเกิดขึ้นได้ สิ่งแรกที่ทำคือต้องเริ่มที่ตัวเรา (Safety starts with me) ซึ่ง “ตัวเรา” ในที่นี้หมายถึง เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน (จป.) หากความปลอดภัยมีการเริ่มต้นและทำอย่างต่อเนื่องแล้ว ให้ดำเนินการขยายผลต่อให้กับทุกคนในองค์กร “Safety starts with you” ต่อไป
เขียนโดย คุณมนตรี อบเชย
ตำแหน่ง ผู้จัดการส่วนความปลอดภัยภาคพื้น
บริษัท ไทยแอร์เอเชีย จำกัด
ตำแหน่ง ผู้จัดการส่วนความปลอดภัยภาคพื้น
บริษัท ไทยแอร์เอเชีย จำกัด
ผมเชื่อว่าหลายท่านเคยใช้บริการสายการบินในการเดินทางทั้งภายในและต่างประเทศ ซึ่งเป็นการประหยัดเวลาและถึงจุดหมายปลายทางได้อย่างความปลอดภัย เหตุผลที่หลายๆ ท่านใช้เลือกบริการสายการบินใดในการเดินทาง นอกจากตารางการบินที่เหมาะสม ตรงเวลา ราคาที่ประหยัด และผมเชื่อว่าเรื่องความมั่นใจด้านความปลอดภัย ก็น่าจะเป็นเหตุผลสำคัญอย่างหนึ่งในการประกอบการตัดสินใจใช่ไหมล่ะครับ
เขียนโดย คุณมนตรี อบเชย
ตำแหน่ง ผู้จัดการส่วนความปลอดภัยภาคพื้น
บริษัท ไทยแอร์เอเชีย จำกัด
2) สาเหตุที่เกิดจากความผิดพลาดของเครื่องจักร (Mechanical Failure) มีประมาณ 10% ของการเกิดอุบัติเหตุทุกครั้ง
3) สาเหตุที่นอกเหนือการควบคุม (Acts of God) มีประมาณ 2% เป็นสาเหตุที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ นอกเหนือการควบคุมได้ เช่น พายุ น้ำท่วม ฟ้าผ่า แผ่นดินไหว เป็นต้น
ตำแหน่ง ผู้จัดการส่วนความปลอดภัยภาคพื้น
บริษัท ไทยแอร์เอเชีย จำกัด
หากพูดถึงสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ ตามทฤษฎีของ H.W. Heinrich ซึ่งเป็นบุคคลหนึ่งที่ได้ศึกษาถึงสาเหตุที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุอย่างจริงจังในโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ในปี ค.ศ.1920 ผลจากการศึกษาวิจัย สรุปได้ดังนี้
1) สาเหตุที่เกิดจากคน (Human Causes) มีจำนวนสูงที่สุด คือประมาณ 88% ของการเกิดอุบัติเหตุทุกครั้ง2) สาเหตุที่เกิดจากความผิดพลาดของเครื่องจักร (Mechanical Failure) มีประมาณ 10% ของการเกิดอุบัติเหตุทุกครั้ง
3) สาเหตุที่นอกเหนือการควบคุม (Acts of God) มีประมาณ 2% เป็นสาเหตุที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ นอกเหนือการควบคุมได้ เช่น พายุ น้ำท่วม ฟ้าผ่า แผ่นดินไหว เป็นต้น
เขียนโดย คุณมนตรี อบเชย
ตำแหน่ง ผู้จัดการส่วนความปลอดภัยภาคพื้น
บริษัท ไทยแอร์เอเชีย จำกัด
ตำแหน่ง ผู้จัดการส่วนความปลอดภัยภาคพื้น
บริษัท ไทยแอร์เอเชีย จำกัด
เป็นที่ทราบกันดีว่า การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย (Safety Culture) เป็นสิ่งที่ไม่ง่าย แต่ก็ไม่ยากจนเกินไป ซึ่งต้องใช้เวลาและความต่อเนื่อง ในวงการความปลอดภัยการบิน เราให้ความสำคัญเรื่องการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยเป็นอย่างมาก เพราะหากองค์กรมีวัฒนธรรมความปลอดภัยที่ดีแล้ว การบริหารจัดการด้านความปลอดภัยจะเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยการบินจะต้องมีองค์ประกอบอยู่ 5 วัฒนธรรม จึงจะสามารถรวมเป็นวัฒนธรรมความปลอดภัยอย่างสมบูรณ์
เขียนโดย คุณเสกสรรค์ ปรีจิตต์
ตำแหน่ง CEO
ตำแหน่ง CEO
PS safety Co.,Ltd.
บทความนี้ผมจะเล่าเรื่อง วิถีชีวิตของการเป็นวิทยากรด้านความปลอดภัยในการทำงาน ในยุคที่โควิด-19 ครองเมือง รวมถึงเล่าย้อนกลับไปตั้งแต่เริ่มทำงานวิทยากรครั้งแรก เพื่อให้เห็นการก้าวสู่สายอาชีพวิทยากรและการปรับตัว การพัฒนาตนเองจนมาสู่ปัจจุบันในโลกยุคโควิด ที่อะไรต่อมิอะไร ต้องเป็นออนไลน์เกือบทั้งหมดแม้กระทั่งชีวิตวิทยากรด้านความปลอดภัยฯ ก็ยังต้องปรับให้กลายเป็น วิทยากรออนไลน์
เขียนโดย คุณเสกสรรค์ ปรีจิตต์
ตำแหน่ง CEO
ตำแหน่ง CEO
PS safety Co.,Ltd.
เทคโนโลยีถูกสถานการณ์ โควิด-19 เร่งเครื่องยิ่งกว่ายุคสมัยใดๆ อนาคตที่เราคิดไว้ว่าอีก 50-100 ปี ที่ระบบ AI และระบบหุ่นยนต์ที่จะเข้ามาทดแทนแรงงานมนุษย์ อาจมาถึงเร็วกว่าที่เราคิดไว้ เราอาจได้เห็นภาพอนาคตนั้นในอีก 5-10 ปีข้างหน้านี้ ผมขอยกตัวอย่างของไทย คุณธนินท์ เจียรวนนท์ ประธานเครือซีพี กล่าวปาฐกถาเปิดงาน Nikkei Asia Forum เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2016
เขียนโดย คุณเสกสรรค์ ปรีจิตต์
ตำแหน่ง CEO
ตำแหน่ง CEO
PS safety Co.,Ltd.
หากจะกล่าวว่า ตอนนี้งานด้าน OHS ของไทยกำลังเข้าสู่ยุคทองของระบบการจัดการด้าน OHS คงจะเป็นการกล่าวที่ไม่เกินความจริงไป ทำไมผมถึงได้กล่าวเช่นนั้น
บทความนี้จะเผยให้เราได้เห็นถึงสิ่งที่กล่าวในข้างต้น เพื่อให้เพื่อนๆ จป.วิชาชีพ ได้รับรู้การมาถึงของยุคใหม่ในการทำงานด้าน OHS และเราจะได้เตรียมตัวรับมือกันแต่เนินๆ
เขียนโดย คุณเสกสรรค์ ปรีจิตต์
ตำแหน่ง CEO
ตำแหน่ง CEO
PS safety Co.,Ltd.
ถึงตอนนี้คงปฏิเสธไม่ได้แล้วว่าเทคโนโลยีนั้นจำเป็นกับการพัฒนาของทุกสาขาอาชีพไม่เว้นแม้แต่ สายวิชาชีพด้านความปลอดภัยในการทำงาน ปัญหาหลักตอนนี้คือสถานการณ์โควิด-19 นั้นเป็นตัวเร่งเทคโนโลยีให้มาเร็วขึ้นและปริมาณมากขึ้นในแบบที่เรียกได้ว่าเป็นคลื่นยักษ์ที่ถาโถมใส่เราเลยก็ว่าได้ ใครที่มีทักษะที่พร้อมจะปรับตัวก็รอดไป แต่สำหรับใครที่ไม่สามารถปรับตัวทันต่อเทคโนโลยี ก็จะถูกทิ้งให้จมเทคโนโลยีไปเลย อาจกลายเป็นผู้อยู่วงนอกของสายงานอาชีพนั้นไปเลย
เขียนโดย คุณเสกสรรค์ ปรีจิตต์
ตำแหน่ง CEO
ตำแหน่ง CEO
PS safety Co.,Ltd.
ถ้ากล่าวถึงแอพพลิเคชั่นด้าน OHS ส่วนใหญ่เรามักจะได้อ่านรีวิวแอพพลิเคชั่นของฝั่งอเมริกาหรือยุโรปเป็นหลัก แต่วันนี้ไม่ใช่ครับ ขอแนะนำให้ท่านรู้จัก Safety Update mobile application ซึ่งเป็นของคนไทย 100%
ผมขอเรียกว่า Safety Update platform online ก็แล้วกันครับ ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อวัตถุประสงค์ ในการนำ จป.วิชาชีพ เข้าสู่ยุคดิจิทัลเลยก็ว่าได้ ผมเองได้เป็นส่วนหนึ่งของผู้พัฒนา Safety Update platform online นี้ร่วมกับเพื่อนๆ ร่วมอาชีพอีกหลายท่าน บทความนี้จึงอยากเขียนเล่าเรื่องให้เพื่อนๆร่วมอาชีพได้อ่านกันเพื่อให้เข้าใจถึงรูปแบบและประโยชน์ที่เราจะได้รับ
เขียนโดย อาจารย์กชกร อึ่งชื่น
ตำแหน่ง อาจารย์ประจำสาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์
ตำแหน่ง อาจารย์ประจำสาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์
หน่วยงาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หากพูดถึงสารไกลโฟเซต (glyphosate) หลายคนอาจจะรู้จักกันดี บางคนอาจจะรู้จักในชื่อทางการค้าว่า “ราวด์อั้พ” หรือหลายคนอาจคุ้นเคยจากข่าวการแบน 3 สารพิษ พาราควอต คลอร์ไพริฟอส และไกลโฟเซต ในประเทศไทย เนื่องจากความเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของผู้ใช้ ดังนั้นเราลองมาทำความรู้จักกับสารไกลโฟเสตกันดูว่า สารไกลโฟเสตเป็นพิษมากน้อยแค่ไหน และเราสามารถใช้ให้เกิดความปลอดภัยได้อย่างไรบ้าง
เขียนโดย อาจารย์กชกร อึ่งชื่น
ตำแหน่ง อาจารย์ประจำสาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์
ตำแหน่ง อาจารย์ประจำสาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์
หน่วยงาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
จากบทความที่แล้วเรารู้จักสารไกลโฟเซตกันดีขึ้นแล้วนะคะ
ในบทความนี้เรามาพูดถึงแนวทางการทำงานกับไกลโฟเซตอย่างไรให้ปลอดภัยกันนะคะ
โดยปกติแล้วเราทำการตรวจวัดสารเคมีอันตรายในบรรยากาศ
เพื่อหาความเข้มข้นว่าสารเคมีดังกล่าวมีค่าเกินค่ามาตรฐานหรือที่กฎหมายกำหนดหรือไม่
เพื่อควบคุมความเสี่ยงในการรับสัมผัสสารเคมีที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพได้
เขียนโดย คุณอุมากร ธงสันเทียะ
ตำแหน่ง Assistant Safety Manager
ตำแหน่ง Assistant Safety Manager
หน่วยงาน บริษัท Griffith Foods LTD.
ความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานที่จะต้องอยู่กับความเสี่ยงในทุกๆ วัน ไม่ว่าจะเป็นความเสี่ยงทางด้านกายภาพ เช่น เสียงดัง แสงจ้า สัมผัสความร้อน ความเย็น หรืออันตรายที่เกิดจากรังสี ความเสี่ยงทางด้านชีวภาพ เช่น เชื้อโรคต่างๆ เชื้อรา แบคทีเรีย หรือจุลชีวัน ในโรงงานประเภทต่าง ความเสี่ยงทางด้านเคมี เช่น ฝุ่น (Respirable dust หรือ Total dust) สารเคมีต่างๆ ทั้งที่ใช้ในการทำความสะอาดเครื่องจักร พื้นที่ทำงาน สารเคมีที่ใช้ทางห้องปฏิบัติการ หรือส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ และความเสี่ยงทางด้านจิตวิทยาสังคม