บทความ OHSWA Lessons learned
OHSWA Lessons Learned Initiative 2021
เขียนโดย คุณพงษ์บัญชา พันธุ์ชัยภูมิ
ตำแหน่ง วิศวกรความปลอดภัย
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน)
ตำแหน่ง วิศวกรความปลอดภัย
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน)
เกิดเหตุระเบิดที่โรงกลั่น Husky
Energy Refinery เมื่อเวลาประมาณ 10.00 น.
วันที่ 26 เมษายน 2561 ขณะที่โรงกลั่นน้ำมันหยุดการผลิตเพื่อซ่อมบำรุงและการตรวจสอบ
(Maintenance and Inspection) หน่วยการผลิต Fluid
Catalytic Cracking Unit (FCCU) โดยการระเบิดนี้เกิดขึ้นในช่วงเวลาพัก
ซึ่งพนักงานจำนวนมากที่ก่อนหน้านี้อยู่หน้างาน จึงได้เข้าไปพักในอาคารที่ทนทานต่อการระเบิด
จากเหตุการณ์นี้ทำให้คนงานอย่างน้อย 30 คน ที่ทำงานในโรงงานแห่งนี้ได้รับบาดเจ็บ
บางรายอาการสาหัส
เขียนโดย คุณชลาธิป อินทรมารุต
ตำแหน่ง HSSE Manager
บริษัท อาร์ทิเลีย คอร์เนอร์สโตน จำกัด
ตำแหน่ง HSSE Manager
บริษัท อาร์ทิเลีย คอร์เนอร์สโตน จำกัด
หลายครั้งที่เราเคยอ่านเจอข่าวการขุดดินไปโดนท่อน้ำมัน ท่อก๊าซ ท่อไฟ หรือ ท่อสายสัญญาณที่อยู่ใต้ดินแตกเสียหาย แต่เราอาจจะคิดว่ายังเป็นเรื่องไกลตัว แต่ถ้าถามว่าในที่นี้มีใครเคยเกิดปัญหาท่อประปาแถวๆบ้านแตก จนมีน้ำไหลท่วมบนถนน หรือทำให้น้ำประปาที่บ้านของท่านไม่ไหลเพราะท่อหลักขนาดใหญ่ (main) แตกเสียหาย และต้องรอให้การประปามาซ่อม เสียเวลาไปครึ่งค่อนวัน ทั้งเพิ่มปัญหาการจราจรให้ติดขัด และยังทำให้ไม่สามารถใช้น้ำประปาได้ ซึ่งเหตุการณ์ลักษณะนี้ผมเชื่อว่าหลายท่านต้องเคยเจอในชีวิตมามากกว่า 1 ครั้งอย่างแน่นอน
เขียนโดย คุณกรกช เขียวขำ
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยวิชาชีพ
บริษัท ไทยโพลีคาร์บอเนต จำกัด
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยวิชาชีพ
บริษัท ไทยโพลีคาร์บอเนต จำกัด
เพื่อนๆ มีปัญหาโลกแตกแบบนี้หรือไม่
“การบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุจากการผิดพลาดเล็กๆน้อยๆของมนุษย์”
บทความนี้ที่ไม่มีถูกไม่มีผิด
เป็นความคิดเห็นโดยนำประสบการณ์ที่ได้มาจากเพื่อนๆร่วมวิชาชีพ นำมาปรับใช้ (Theory + Experiences)
Human error Prevention Program คือโปรแกรมการป้องกันอุบัติเหตุจากสาเหตุจากความผิดพลาดของมนุษย์
ที่เสริมจากระบบการจัดการความปลอดภัยที่มีอยู่แล้ว โดยที่บริษัทเล็กๆ สามารถนำมาปรับใช้ได้
เป็นอีกทางเลือก ที่ไม่มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ
เขียนโดย คุณสุรชัย สังขะพงศ์
ตำแหน่ง ที่ปรึกษาความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
บจก. เอ็นพีซี เซพตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส
บจก. เอ็นพีซี เซพตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส
งานซ่อมบำรุงใหญ่ประจำปีในโรงงานที่มีกำลังผลิตหลายล้านตันต่อปี ซึ่งมีการกำหนดระยะเวลาในงานซ่อมบำรุง ในการทำงานมีการวางแผนงานซ่อม และในส่วนของผู้รับเหมาก็พยายามที่จะเร่งให้เสร็จตามที่กำหนดหรือเสร็จก่อนแผนงาน สำหรับเหตุการณ์ในครั้งนี้ เป็นบทเรียนที่ผู้รับเหมาทำงานของช่างเชื่อมและช่างประกอบ เข้าทำงาน Tiein เชื่อมต่อท่อ ขนาดของท่อที่มีความโตอยู่ที่ 8 นิ้ว ใน lineLow pressure Flare ในช่วงเวลา 11.30 น. โดยในช่วงเช้าได้เข้าไปทำงานที่จุด TP04 โดยมีการใส่ Balloon ใว้ในท่อ ตอนช่วงบ่ายต้องทำงานจุดที่ TP 13 เพิ่มอีก 1 จุด จึงแจ้งให้ทางทีม operation ตรวจวัดค่าเปอร์เซ็น LEL พบว่ามีค่า 4-6 เปอร์เซ็น LEL
เขียนโดย คุณพิชิต ชำนิงาน
ตำแหน่ง วิศวกรความปลอดภัย
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน)
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน)
“ถังบรรจุ Foul condensate ระเบิดที่โรงงานกระดาษ แรงจากการระเบิดดันถัง Foul condensate การระเบิดทำให้มีผู้เสียชีวิต 3 คนและบาดเจ็บอีก 7 คน นอกจากนี้การระเบิดทำให้โครงสร้างชั้นวางท่อ และโครงสร้างอื่นๆ เสียหาย ซึ่งมีสาเหตุที่น่าสนใจติดตามได้ในรายละเอียดของบทความ”
เขียนโดย คุณอรรถวิทย์ อินสว่าง
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยวิชาชีพ
บริษัท ไทยโพลีคาร์บอเนต จำกัด
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยวิชาชีพ
บริษัท ไทยโพลีคาร์บอเนต จำกัด
แบ่งปันประสบการณ์และหลักการเกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุจากการทำงานที่มีสาเหตุจากข้อผิดพลาดของมนุษย์
ด้วยเครื่องมือที่เรียกว่า Human error Protection Program ที่เสริมให้เราทำลายแบริเออร์ของอุปสรรคการจัดการที่ตัวคนและนโยบายพื้นฐานของปัญหาการจัดการ
เขียนโดย คุณสุทธิศักดิ์ เพ็งสลุง
ตำแหน่ง ที่ปรึกษาอาวุโส
บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จำกัด
ตำแหน่ง ที่ปรึกษาอาวุโส
บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จำกัด
ในชีวิตประจำวันของเรามักจะต้องมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับสารเคมีต่างๆ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทั้งอยู่ที่บ้านหรือสถานที่ทำงาน ซึ่งอันตรายของสารเคมีนั้นมีทั้งอันตรายมากและอันตรายน้อยขึ้นอยู่กับชนิดหรือประเภทของสารเคมีนั้นๆ และเรามักจะได้ยินข่าวเกี่ยวกับอุบัติเหตุจากสารเคมีบ่อย ๆ ส่วนใหญ่เกิดจากการขาดความรู้ความใจเกี่ยวกับคุณสมบัติ และอันตรายของสารเคมี รวมถึงข้อห้าม หรือข้อควรระวังต่างๆ ซึ่ง ตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. 2556
เขียนโดย คุณไพลิน ใบบัว
ตำแหน่ง วิศวกรความปลอดภัย (จป.วิชาชีพ)
บริษัท จีซี ไกลคอล จำกัด
ตำแหน่ง วิศวกรความปลอดภัย (จป.วิชาชีพ)
บริษัท จีซี ไกลคอล จำกัด
เกิดอุบัติเหตุการระเบิดของ Ethylene Oxide ซึ่งเป็นสารไวไฟสูงมากและมีความเป็นอันตรายสูง
ถูกนำมาใช้ในระบบ Sterilization ของโรงงานการผลิตอุปกรณ์ทางการแพทย์
ซึ่งมีการ Bypass ในขั้นตอนของการกำจัด
Ethylene Oxide ในระบบที่ถือเป็นขั้นตอนที่สำคัญในการปรับค่าความเข้มข้นของ
Ethylene Oxide ให้อยู่ในระดับที่ต่ำกว่าที่จะก่อให้เกิดการระเบิดได้
จากการ Bypass ส่งผลทำให้มีผู้บาดเจ็บจำนวน 4 ราย และทำให้เกิดความเสียหายในรัศมีเป็นวงกว้าง ถือเป็นความเสียหายที่มีความรุนแรงเป็นอย่างมาก
เขียนโดย คุณจุฑารัตน์ ไชยมงคล
ตำแหน่ง ผู้จัดการส่วนปฏิบัติการปรึกษาวิศวกรรมและความปลอดภัยกระบวนการผลิต
บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จำกัด
ตำแหน่ง ผู้จัดการส่วนปฏิบัติการปรึกษาวิศวกรรมและความปลอดภัยกระบวนการผลิต
บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จำกัด
จากการเฝ้าสังเกตการออกกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยกระบวนการผลิตของ OSHA-PSM (Occupational Safety and Health Administration - Process safety management of highly hazardous chemicals) นั้นถึงแม้ว่าเราจะเห็นได้ว่าตัวกฎหมายและข้อบังคับนั้นได้ออกมาหลายปีมากแล้ว แต่การนำไปบังคับใช้กับโรงงานในประเทศสหรัฐอเมริกาก็ยังมีบางประเด็นที่ไม่สามารถตอบรูปแบบการดำเนินการของโรงงานที่มีความแตกต่างหลากหลายได้
เขียนโดย คุณเนติพงษ์ คำอาจ
ตำแหน่ง วิศวกรความปลอดภัย (จป.วิชาชีพ)
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน)
ตำแหน่ง วิศวกรความปลอดภัย (จป.วิชาชีพ)
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน)
ทั้งๆ ที่โรงงานมีกระบวนการในจัดการ
และระบบป้องกันการเกิดเพลิงไหม้ที่ดี อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร
หรือแม้แต่ระบบไฟฟ้า ถูกออกแบบมาให้ลดโอกาสในการเกิดการ Spark หรือระเบิดอย่างเต็มประสิทธิภาพ แต่ก็ยังเกิดอุบัติเหตุร้ายแรงที่เกิดขึ้นได้
หากไม่มีการจัดการความเสี่ยงที่หลายคนอาจมองข้ามอย่าง “ฝุ่น”
ได้อย่างครอบคลุม
เขียนโดย คุณชลาธิป อินทรมารุต
ตำแหน่ง HSSE Manager
บริษัท อาร์ทิเลีย คอร์เนอร์สโตน จำกัด
ตำแหน่ง HSSE Manager
บริษัท อาร์ทิเลีย คอร์เนอร์สโตน จำกัด
ถ้าหากตั้งคำถามว่า “ก๊าซอะไรที่อยู่ใกล้ตัวเรา และเราคุ้นเคยกับมันมากที่สุด?” ผมเชื่อว่าหลายๆท่านคงตอบเช่นเดียวกับผมว่า “ก๊าซอ๊อกซิเจน” เพราะเป็นก๊าซที่มีอยู่ในบรรยากาศรอบๆตัวเรา ประมาณ 21% และมีความจำเป็นต่อร่างกายของเรา รวมถึงสิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลกใบนี้เพื่อการหายใจและดำรงค์ชีวิต ซึ่งเราสามารถพบเห็นการนำก๊าซอ๊อกซิเจนมาอัดแรงดันบรรจุลงในถังเหล็กหนา เพื่อใช้ในกิจกรรมต่างๆ มากมาย อย่างเช่น ทางการแพทย์ใช้สำหรับช่วยชีวิตผู้ป่วยที่ไม่สามารถหายใจได้เองอย่างปกติ
เขียนโดย คุณสุรชัย สังขะพงศ์
ตำแหน่ง ที่ปรึกษาความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
บจก. เอ็นพีซี เซพตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส
บจก. เอ็นพีซี เซพตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส
เมื่อในระบบ Steam Generator มีปัญหาเกิดการรั่วขึ้น มีคำสั่งให้ทีมงานซ่อมบำรุงมีการติดต่อเตรียมทีมงานและเครื่องมือ เข้าแก้ไขเพื่อซ่อม สถานที่เกิดเหตุบริเวณหอ Dilution Steam Generator อย่างเร่งด่วน
ผู้ปฏิบัติงานช่างซ่อมบำรุงได้ติดต่อขอเข้าทำงานถอด Control Valve เพื่อซ่อมการรั่วไหลของ Valve เมื่อถึงจุดปฏิบัติงานพบว่าสภาพหน้างานได้มีการปิด Block Valve ตัวที่ 1 และ 2 ส่วน Drain Valve (หมายเลข 3) เปิดอยู่จึงมีความเข้าใจว่าได้มีการตัดแยกเรียบร้อยแล้วหลังจากนั้นผู้ปฏิบัติงานช่างซ่อมบำรุงได้ทำการตัดแยก Air Supply ของ Control valve ออก
เขียนโดย คุณพิชิต ชำนิงาน
ตำแหน่ง วิศวกรความปลอดภัย
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน)
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน)
ในเช้าวันเกิดเหตุ
รถขนส่งสารเคมีของบริษัท Harcros Chemicals นำกรดซัลฟิวริกมาส่งให้บริษัท MGPI โดยบริเวณถังบรรจุกรดซัลฟิวริกอยู่ติดกับถังบรรจุโซเดียมไฮโปคลอไรท์
ทำให้ผู้เติมสารสับสน จึงต่อสายจ่ายกรดซัลฟิวริกเข้ากับตัวถังบรรจุโซเดียมไฮโปคลอไรท์ส่งผลให้กรดซัลฟิวริกทำปฏิกิริยากับโซเดียมไฮโปคลอไรท์ในถัง
เกิดแก๊สคลอรีนรั่วไหลออกมาจากถังบรรจุโซเดียมไฮโปคลอไรท์ ก่อให้เกิดอันตรายกับพนักงานและผู้อยู่อาศัยแถวนั้น